วันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

สอบ Present (17/11/2558)


ชื่อรูป สอบ Present Identity Design
จาก : http://corporateidentitydesign.blogspot.com/


ชื่อรูป สอบ Present Identity Design
จาก : http://corporateidentitydesign.blogspot.com/



วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3 ( 1 กันยายน 2558 )


  • ส่งแบบสืบค้นข้อมูลเบื้องต้นของแบรนด์ ป้าแจ๋ว
  • ทำ Art work แบบเก่า
  • ทำการจำแนกรายละเอียดของตัวอัตลักษณ์เก่า
  • ส่งแบบโลโก้ใหม่ที่ออกแบบให้อาจารย์ตรวจเบื้องต้น
  • Present งานกลุ่ม

การบ้าน

  • หาข่าวเกี่ยวกับอัตลักษณ์พร้อมแปลสรุปจัดเรียงให้สวยงามใส่ใน Dire และ Blog คนละ 3 ข่าว
  • หาข้อมูล ส.1 สืบค้น เพิ่มเติม พร้อมทำการอธิบาย
  • ไปดูงาน สมุนไพร แห่งชาติที่ อิมแพ็ค อารน่า เมืองทองธานี งานจัดตั้งแต่วันที่ 2-6 กันยายน 2558
  • เตรียมหาผลิตภัณฑ์ตัวอย่างเพื่อมาทำเป็นแบรนด์ของตนเอง

แปลสรุปข่าว



แปลสรุปบทความ

เรื่องที่ 1 : Yardstick Coffee (Branding)



Yardstick is an institution of coffee, aspiring to increase the knowledge and spread of specialty coffee in the Philippines. This inspired the logo, which resembles the national flag of Philippines, rotated. Rather than having a corporate colour, we devised a ‘corporate’ palette where we have the freedom to mix and match, infusing a sense of playfulness mingled with the seriousness of coffee craft.


The project embodies three parts: a cafe, a coffee roastery and a coffee lab. We embraced the use of colours selectively, almost clinically, to recreate a playful workshop, in keeping with the philosophy of invoking fun. Key touch points in the space are accented by a playful use of colours. Finally, the use of diffused lights help to eliminate shadows thereby creating an even canvas to communicate a clean and honest space.









แปลโดย Google


เป็นสถาบันของกาแฟที่ต้องการที่จะเพิ่มความรู้และการแพร่กระจายของกาแฟชนิดพิเศษในประเทศฟิลิปปินส์ นี้เป็นแรงบันดาลใจโลโก้ซึ่งคล้ายกับธงประจำชาติของฟิลิปปินส์หมุน แทนที่จะมีสีขององค์กรเราคิดค้น 'องค์กร' จานที่เรามีอิสระในการผสมและตรงกับความรู้สึกของการผสมผสานระหว่างความสนุกสนานผสมกับความร้ายแรงของงานฝีมือกาแฟ


โครงการส่งเสริมสามส่วนร้านกาแฟ Roastery กาแฟและกาแฟในห้องปฏิบัติการ เรากอดการใช้สีการคัดเลือกเกือบทางคลินิกที่จะสร้างการประชุมเชิงปฏิบัติการขี้เล่นในการรักษาด้วยปรัชญาของความสนุกอัญเชิญ สัมผัสจุดที่สำคัญในพื้นที่ที่มีการเน้นเสียงโดยใช้ขี้เล่นของสี ในที่สุดการใช้ไฟกระจายช่วยในการขจัดเงาจึงสร้างแม้ผืนผ้าใบในการสื่อสารเป็นพื้นที่ที่สะอาดและมีความซื่อสัตย์


สรุปและเรียบเรยงเนื้อหาใหม่

เป็นอัตลักษณ์ของสถาบันกาแฟ Yardstick ในประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งสถาบันแห่งนี้ต้องการแพร่กระจายกาแฟชนิดใหม่ในประเทศ จึงออกแบบโลโก้นี้ออกมาซึ่งได้แรงบันดาลใจมาจากการหมุนของธงประจำชาติของฟิลิปปินส์ แทนที่จะทำเป็นสี เพื่อให้เราได้มีอิสระในการผสมผสานความรู้สึก ความสนุกสนานและความร้ายแรงไปในนี้ โดยใช้การเล่นสี สร้างสรรค์ออกมาให้พื้นทีในโลโก้สะอาดและเรียบง่าย


Yardstick Coffee (Branding)
แปลสรุปโดย นางสาวชาลินี  สายชนะ
รหัสนักศึกษา 5611301820 กลุ่มเรียน 101

...............................................................................................................................................

แปลสรุปบทความ
เรื่องที่ 1 : Marco Marco


Marco Marco is a fast casual pasta and panini restaurant that serves international interpretations of this staple Italian cuisine. Taking Italy as a point of departure, Marco Marco explores using local ingredients and food culture as an inspiration for their dishes. Inspired by the life and travels of Marco Polo, we went out to create a sense of adventure in every bite.
Instead of a usual name, we opted to give the restaurant a nickname, “Marco, Marco.” This allowed us to put a modern spin on the Italian pasta restaurant genre.
The logo and the use of bold Italian red merely acts as an internationally friendly neutral tone. We wanted the food photography to express the brand’s exploratory approach to the ingredients in each recipe. Effectively deconstructing the dishes in a neat and organised manner.


แปลโดย Google

มาร์โกมาร์โกเป็นพาสต้าอย่างรวดเร็วสบายและร้านอาหาร Panini ที่ทำหน้าที่ตีความระหว่างประเทศของอาหารอิตาเลียนหลักนี้ การอิตาลีเป็นจุดของการเดินทางมาร์โกมาร์โกสำรวจโดยใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นและวัฒนธรรมอาหารเป็นแรงบันดาลใจสำหรับอาหารของพวกเขา แรงบันดาลใจจากชีวิตและการเดินทางของมาร์โคโปโลเราออกไปสร้างความรู้สึกของการผจญภัยในทุกกัด
แทนที่จะเป็นชื่อที่ปกติเราเลือกที่จะให้ร้านอาหารชื่อเล่น "มาร์โกมาร์โค." นี้ช่วยให้เราสามารถใส่สปินที่ทันสมัยในรูปแบบร้านอาหารอิตาเลี่ยนพาสต้า
โลโก้และการใช้สีแดงเป็นตัวหนาอิตาลีเพียงทำหน้าที่เป็นโทนสีที่เป็นกลางที่เป็นมิตรในระดับสากล เราอยากถ่ายภาพอาหารที่จะแสดงวิธีการสอบสวนของแบรนด์ส่วนผสมในสูตรแต่ละ ได้อย่างมีประสิทธิภาพถอนรากอาหารในลักษณะที่เรียบร้อยและจัด








สรุปและเรียบเรยงเนื้อหาใหม่

แบรนด์ มาร์โกมาร์โก เกิดจจาก ร้านอาหาร Panini เป็นร้านขายอาหารอิตาเลี่ยนพาสต้า โดยการออกแบบโลโก้นี้ ได้หาแรงบันดาลใจจากการใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นและวัฒนธรรมอาหารของพวกเขา แทนที่จะตั้งเป็นชื่อแบบที่ปกติแต่เขาเลือกที่จะให้ร้านอาหารมีชื่อเล่นว่า "มาร์โกมาร์โค." เพราะจะช่วยให้เราสามารถใส่การเรียกซ้ำในแบบที่ทันสมัยในรูปแบบร้านอาหารอิตาเลี่ยนพาสต้า โลโก้จะเป็นตัวหนา และการใช้สีแดงเเป็นโทนสีที่เป็นกลางๆ


Marco Marco
แปลสรุปโดย นางสาวชาลินี  สายชนะ
รหัสนักศึกษา 5611301820 กลุ่มเรียน 101


................................................................................................................................
...............
แปลสรุปบทความ
เรื่องที่ 3 : 7Cycle (Branding)

7Cycle is an indoor cycling studio that aims to make short work of exercise with charismatic instructors, curated music playlists and a rave-like atmosphere within the studio. Recognising that the main attribute to living a healthy lifestyle is an activity that is fun, personal and exists as a community, 7Cycle was designed to embody those elements in its design, interiors as well as its overall experience - a place where indoor cycling and fun can call home.
The animated logo has seven spinning spokes that augers the group cycle element while not losing sight of the importance of retaining one’s personal 7-day healthy regime of exercise and nutrition. In the brand collaterals, neon orange accents are used alongside a pastel-like gradient palette to highlight elements of the brand’s intensity with its lighter touches. Under ultraviolet light, the neon glows in the dark, illustrating 7Cycle's dynamic, party-like experience.
Working with a traditional shophouse, a conscious effort was taken to restore elements of auspicious Chinese words to reflect the site’s heritage with the exception of relevant words associated with the 7Cycle brand –  健康 (Health), 愉快 (Happiness) and 和谐 (Harmony) on the facade. The intention was replicated with the translation of “7Cycle” (七旋集) and “Gym" (健身馆) onto the front pillars.
Two different moods were expressed in the interiors – areas of intensity and calm. For the workout studio and stairwell, we lit the space with black light and neon elements to invoke a more intense atmosphere and experience. Peranakan motifs in neon was employed to create a pop-art aesthetic on the stairwell, juxtaposed with the same motifs employed on the windows albeit in white. In contrast, the ambience in the showers, juice bar and reception space is light. The intention of the gesture was to promote a calm atmosphere for community, conversation and relaxation after a rewarding day’s work in the gym.
แปลโดย Google


7Cycle เป็นสตูดิโอการขี่จักรยานในร่มที่มีจุดมุ่งหมายที่จะทำให้การทำงานสั้น ๆ ของการออกกำลังกายกับอาจารย์เสน่ห์ curated รายการเล่นเพลงและบรรยากาศที่คลั่งเหมือนที่อยู่ในสตูดิโอ ตระหนักว่าแอตทริบิวต์หลักในการใช้ชีวิตอย่างมีสุขภาพดีเป็นกิจกรรมที่สนุกส่วนบุคคลและมีอยู่เป็นชุมชนที่ 7Cycle ถูกออกแบบมาเพื่อรวบรวมองค์ประกอบเหล่านั้นในการออกแบบตกแต่งภายในเช่นเดียวกับประสบการณ์โดยรวม - สถานที่ที่การขี่จักรยานในร่มและสนุก สามารถโทรหาที่บ้าน
โลโก้ที่เคลื่อนไหวมีเจ็ดซี่ปั่นที่ augers องค์ประกอบวงจรกลุ่มในขณะที่ไม่สูญเสียสายตาถึงความสำคัญของการรักษา 7 วันส่วนบุคคลหนึ่งของระบอบการปกครองที่ดีต่อสุขภาพของการออกกำลังกายและโภชนาการ ในหลักประกันแบรนด์สำเนียงสีส้มนีออนถูกนำมาใช้ควบคู่ไปกับการไล่ระดับสีจานสีพาสเทลเหมือนที่จะเน้นองค์ประกอบของความเข้มของแบรนด์ที่มีสัมผัสเบา ภายใต้แสงอัลตราไวโอเลตนีออนเรืองแสงในที่มืดแสดง 7Cycle แบบไดนามิกประสบการณ์ของบุคคลที่ชอบ
การทำงานกับอาคารพาณิชย์แบบดั้งเดิมความใส่ใจถูกนำตัวไปเรียกคืนองค์ประกอบของคำจีนมงคลที่จะสะท้อนให้เห็นถึงมรดกทางวัฒนธรรมของเว็บไซต์ที่มีข้อยกเว้นของคำที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้องกับแบรนด์ 7Cycle - 健康 (สุขภาพ) 愉快 (ความสุข) และ和谐 (Harmony) บน อาคาร ความตั้งใจที่ถูกจำลองแบบกับการแปลของ "7Cycle" (七旋集) และ "ยิม" (健身馆) ลงบนเสาด้านหน้า
สองอารมณ์ที่แตกต่างกันมีการแสดงออกในการตกแต่งภายใน - พื้นที่ของความรุนแรงและความสงบ สำหรับสตูดิโอออกกำลังกายและบันไดเราสว่างพื้นที่ที่มีแสงสีดำและองค์ประกอบนีออนจะก่อให้เกิดบรรยากาศที่รุนแรงมากขึ้นและประสบการณ์ ลวดลายเปรานากันในนีออนถูกจ้างมาเพื่อสร้างความงามป๊อปศิลปะบนบันไดที่วางด้วยลวดลายเดียวกันที่ทำงานในหน้าต่างแม้ว่าในสีขาว ในทางตรงกันข้ามบรรยากาศในห้องอาบน้ำที่บาร์น้ำผลไม้และพื้นที่การต้อนรับที่มีน้ำหนักเบา ความตั้งใจที่จะแสดงท่าทางคือการส่งเสริมบรรยากาศที่สงบให้กับชุมชนการสนทนาและการผ่อนคลายหลังเลิกงานวันที่คุ้มค่าในโรงยิม











สรุปและเรียบเรยงเนื้อหาใหม่

7Cycle เป็นสตูดิโอการขี่จักรยานในร่มที่มีจุดมุ่งหมายที่จะทำให้การทำงานสั้น ๆ ของการออกกำลังกายกับการทำงาน ในการใช้ชีวิตอย่างมีสุขภาพดีเป็นกิจกรรมที่สนุกส่วนบุคคลและมีอยู่เป็นชุมชน 7Cycle ถูกออกแบบมาเพื่อ รวบรวมหาคนเข้าองค์การคนรักสุขภาพ
โลโก้ที่เคลื่อนไหวเหมือนเป็นซี่ปั่นที่มีเจ็ดซี่ที่ลำเลียงกันหมุนไป องค์ประกอบของโลโก้เหมือนการรักษาสุขภาพที่ดีทั้ง 7 วัน ด้วยรออกกำลังกายและโภชนาการ ในแบรนด์นี้จะเป็นสีส้มนีออนที่ถูกนำมาใช้ควบคู่ไปกับการไล่ระดับสีจากสีพาสเทล เหมือนที่จะเน้นองค์ประกอบของความเข้มไปหาเบา ภายใต้แสงอัลตราไวโอเลตนีออน โลโก้จะเรืองแสงในที่มืดแสดง 7Cycle แบบไดนามิกที่สวยงาม


7Cycle (Branding)
แปลสรุปโดย นางสาวชาลินี  สายชนะ
รหัสนักศึกษา 5611301820 กลุ่มเรียน 101


วันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 2 ( 17 สิงหาคม 2558 )

 - Present ข้อมูลสมุนไพรที่แต่ละกลุ่มหามาได้ พร้อมกับบอกปัญหาของผลิตภัณฑ์ของเราว่าควรแก้ไขตรงไหนอย่างไรบ้าง
 - ใช้หลักการ 3 ส. ส.1 (สืบค้น) ส.2 (สร้างสรรค์และสมมติฐาน) ส.3 (สรุปผล)

 การบ้าน

  - นำผลิตที่เราหามาได้มาต่อยอดและทำการพัฒนาโดยการออกแบบเพิ่มเติม
  - นำมาวิเคราะห์จุดบกพร่องต่างๆ หาจุดด้อยของสินค้าที่เราจะทำ อาทิเช่น โลโก้ของสินค้า ฟอนต์ที่ไม่เหมาะกับผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่ไม่เหมาะสมกับการใช้งาน
  - ทำแบบ Sketch ของตัวผลิตภัณฑ์ ที่เรานำมาพัฒนา
  - ขยายแบบกระจายชิ้นส่วนแยกทุกอย่างออกหามาหารายละเอียด

วันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2558

ผลิตภัณฑ์แบรนด์ "ป้าแจ๋ว"

ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ของจังหวัดสิงห์บุรี

ผู้ประกอบการ Brand "ป้าแจ๋ว"
ครีมโลชั่นมะหาด และ น้ำมันจากเม็ดมะรุม 


เจ้าของผลิตภัณฑ์แบรนด์ "ป้าแจ๋ว"
คุณแจ๋ว
ที่อยู่ 190/6 หมู่ 2 ต.บ้านหม้อ อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี 16120
เบอร์ติดต่อ : 089-234-7589










บันทึกการลงพื้นที่หาข้อมูล วันที่ 13 สิงหาคม 2558

ลงพื้นที่หาข้อมูล ผลิตภัณฑ์ "สมุนไพร" ประจำจังหวัด สิงห์บุรี

                 ตัวแทนกลุ่ม ได้เดินทางไปสำรวจหาผลิตภัณฑ์ ที่งาน "ศิลปาชีพประทีปไทยโอทอปก้าวไกลด้วยพระบารมี ครั้งที่ ๔" ณ อาคารชาเรนเจอร์ฮอล์ อิมแพ็คอารีน่าเมืองทองธานี และได้ไปที่บูทของจังหวัดสิงห์บุรี พร้อมหาข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของแต่ละชุมชนที่เป็นตัวแทนมาแสดงงาน








 ที่มา : ชาลินี  สายชนะ 
13/8/2558

สรุปการเรียนครั้งที่ 1 วันที่ 11 สิงหาคม 2558

Comporate Identity Design
เป็นส่วนหนึ่งของ งานกราฟฟิกดีไชน์

**การบ้าน

สำรวจเก็บข้อมูล ผลิตภัณฑ์และสินค้าจากผู้ประกอบการณ์ที่เป็นงาน otop หัวข้อสมุนไพร (ที่ไม่ใช่อาหาร) มาคนละ 1 ผลิตภัณ์ (หรือมากกว่านั้นก็ได้) ต่อ 1 Brand ภายใต้หัวข้อในจังหวัดดังต่อไปนี้ จังหวัดอ่างทอง จังหวัดลพบุรี จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดชัยนาท พร้อมขอรายละเอียดสินค้าถ่ายรูปกับผู้ประกอบการณ์ **ภายใน วันที่ 16 สิงหาคม 2558

ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ประกอบการณ์หรือเจ้าของแบรนด์
 - สมุนไพร
 - สุขภาพ
 - ความงาม
 - เครื่องดืม

- แบ่งกลุ่มกระจายออกตามจังหวัด เพื่อหาผู้ประกอบการณ์ตามชุมชน หมู่บ้าน ในตำบลต่างๆ 
- เสาะหาประเภทของสินค้าที่ทำจากสมุนไพร ว่ามีทั้งหมดกี่ประเภท
- นำสินค้ามาวิเคราะห์หาจุดด้อยของสินค้า 
- ดูชื่อของแบรนด์การใช้ชื่อใช้แบบตัวอักษร ภาษาที่ใช้
- หาความหมายของการจดทะเบียนสินค้าทางการค้า > สมุนไพร >สินค้าทั่วไป

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความหมายของการออกแบบ อัตลักษณ์ (ฺBrand) และ เครื่องหมายสัญลักษณ์

               Corporate Identity Design (หรือ CI Design) คือ การออกแบบอัตลักษณ์ขององค์กรหรือแบรนด์สินค้า ที่ไม่ได้หมายถึงการสร้างแบรนด์หนึ่งๆ โดยตรง แต่เป็นหน้าต่างสำคัญที่จะกำหนดหน้าตาและทิศทางของแบรนด์นั้นๆ ได้ การออกแบบอัตลักษณ์นี้จึงไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะมันไม่ใช่แค่การออกแบบ “โลโก้” แล้วนำไปประยุกต์ใช้กับเครื่องมือสื่อสารทั้งหมดของแบรนด์ CI Design คือ การออกแบบ “ภาพลักษณ์ทั้งหมดของแบรนด์” ที่จะทำให้คนภายนอกสัมผัสได้เฉกเช่นเดียวกับที่องค์กรต้องการสื่อออกไป เรียกว่า ถ้าพลาดก็อาจทำให้ภาพของแบรนด์บิดเบี้ยวไปเลยก็ได้ การออกแบบสร้าง “อัตลักษณ์” ให้กับองค์กรหรือแบรนด์เป็นงานที่ยากยิ่ง เพราะไม่ใช่เป็นเพียงการออกแบบ “โลโก้” ให้สวยงามแล้วจบ แต่สิ่งที่เราต้องการคือ อัตลักษณ์ด้นภาพที่จะสื่อสารถึงจุดยืน  บุคลิกภาพ รวมถึงวิสัยทัศน์ของแบรนด์ จากนั้นค่อยพัฒนาต่อในเรื่องระบบการใช้โลโก้+การใช้ตัวอักษร  การใช้สี  การใช้ภาพ  อื่น ๆ อีกมากมาย ที่จะทำให้ภาพลักษณ์ขององค์กร มีอัตลักษณ์ตามที่ต้องการ




              สรุป : การออกแบบอัตลักษณ์ คือ การออกแบบ การคิดสร้างสรรค์ การคิด การออกแบบงานอย่างมีคอนเซ็ป เพื่อสร้างสรรค์งานให้มีรูปลักษณ์ ที่เด่น และไปในแนวทางเดียวกัน ทำให้มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง เช่น รูป สัญลักษณ์ โลโก้ ลายน้ำ และผลงาน ที่สามารถแสดงถึงตัวตนขององค์กรนั้นๆ เช่น สัญลักษณ์ ของ Apple ที่เป็นรูปแอ๊ปเปิ้ลโดนกัด ซึ่งด้วยสัญลักษณ์ ที่มองแว๊บเดียวก็สามารถรู้ได้เลยว่านี่คือสัญลักษณ์ของ Apple

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบรนด์ (Brand)

               ตราสินค้า หรือ แบรนด์ หรือ ยี่ห้อ (Brand) เป็นรูปแบบของภาพพจน์และแนวความคิด ในรูปอัตลักษณ์ คำขวัญ และผลงานออกแบบ ของสินค้าและผลิตภัณฑ์ ทั้งยังเป็นข้อมูลเชิงมโนธรรม ที่แสดงออกทางรูปธรรมด้วยสัญลักษณ์ ที่สื่อถึงบริษัท สินค้า บริการ หรือกลุ่มผู้ขาย ที่แตกต่างจากคู่แข่งขัน การสร้างตราสินค้า ให้เป็นที่จดจำของลูกค้า เกิดขึ้นได้จากการโฆษณา การบอกต่อ การออกแบบที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ในปัจจุบัน การสร้างตราสินค้า กลายมาเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรม และปรัชญาการออกแบบ

ตราสินค้า ประกอบด้วย ชื่อตราสินค้า (Brand name) หรือ (ชื่อ) ยี่ห้อ คือส่วนที่สามารถอ่านออกเสียงได้ และ เครื่องหมายตราสินค้า (Brandmark) คือส่วนที่ไม่สามารถอ่านออกเสียงได้ แต่สามารถจดจำได้ อาทิสัญลักษณ์ รูปแบบ สีสัน ตัวอักษรประดิษฐ์ เสียง เป็นต้น หากเป็นภาพสัญลักษณ์อย่างเดียว ส่วนนี้อาจเรียกว่าเป็นตราเครื่องหมาย (Logo) ได้เช่นกัน

- ชื่อตรา (brandname) ส่วนของตราที่เป็นชื่อหรือคำพูดหรือข้อความซึ่งออกเสียงได้ เช่น ซันโย ฟิลิปส์
- เครื่องหมายตราสินค้า (brandmark) ส่วนหนึ่งของตราซึ่งสามารถจดจำได้แก่ ออกเสียงไม่ได้ ได้แก่ สัญลักษณ์ รูปแบบที่ประดิษฐ์ต่าง ๆ หรือรูปภาพตลอดจนสีสรรที่ปรากฏอยู่ในเครื่องหมายต่าง ๆ เหล่านี้
- เครื่องหมายการค้า (trademark) ส่วนหนึ่งของตราหรือตราที่ได้จดทะเบียนการ เพื่อป้องกันสิทธิตามกฎหมายแต่ผู้เดียว
- ลิขสิทธิ์ (copyright) สิทธิตามกฎหมายในสิ่งตีพิมพ์ต่าง ๆ
- โลโก้ (logo) เป็นเครื่องหมายที่แสดงสัญลักษณ์ของกิจการหรือองค์การหนึ่ง ๆ
              


อ้างอิง : http://www.cmpk.co.th/2013-11-08-16-36-22/45-


                สรุป :  แบรนด์ (Brand) คือ สัญลักษณ์ ภาพลักษณ์ มุมมอง เอกลักษณ์ ที่เป็นตัวแทนที่บ่งบอกถึงองค์กรนั้นๆ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


วิสาหกิจชุมชน

          “วิสาหกิจชุมชน” อาจจะเป็นคำใหม่ที่หลาย ๆ คนยังไม่เข้าใจ และเข้าใจผิดไปว่าเป็นการช่วยเหลือของภาครัฐในด้านการสนับสนุนเงินทุนเพื่อประกอบอาชีพเหมือนหลาย ๆ โครงการที่ผ่านมา ซึ่งวิสาหกิจชุมชน เกิดขึ้นหลังจากที่รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับเศรษฐกิจพอเพียงควบคู่ขนานไปกับเศรษฐกิจกระแสหลัก อันเนื่องมาจากว่าเศรษฐกิจกระแสหลักก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำระหว่างรายได้ของประชาชนและก่อให้เกิดปัญหาสังคมตามมามากมาย

วิสาหกิจชุมชนเกิดขึ้นจากการนำเอาแนวทางเศรษฐกิจชุมชนหรือแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ คำว่า “วิสาหกิจชุมชน” นั้นสามารถใช้คำว่า “ธุรกิจชุมชน” แทนได้ อันเนื่องมาจากว่าชุมชนไม่ใช่รัฐ ดังนั้นสถาน-ประกอบการที่ชุมชนเป็นเจ้าของก็ต้องจัดว่าเป็นของภาคเอกชนเช่นเดียวกัน แต่ในความเป็นจริงแล้วถ้าหากใช้คำว่าธุรกิจนั่นก็หมายถึงการแสวงหากำไรเป็นที่ตั้ง แต่สถานประกอบการที่ชุมชนเป็นเจ้าของนั้นกลับมีแนวคิดที่เน้นการพึ่งพาอาศัยกันมากกว่าการแสวงหากำไร ดังนั้นจึงควรใช้คำว่า “วิสาหกิจชุมชน” เช่นเดียวกับ “รัฐวิสาหกิจ” ที่หลายคนรู้จัก โดยวิสาหกิจชุมชนนั้นจัดเป็นกลุ่มกิจกรรมของชุมชนที่ชุมชนคิดได้จากการเรียนรู้ ไม่ใช่กิจกรรมเดี่ยว ๆ ที่ทำเพื่อมุ่งสู่ตลาดใหญ่ และไม่ใช่กิจกรรมที่ซับซ้อนอะไร ล้วนแล้วแต่เป็นการทำกินทำใช้ทดแทนการซื้อจากตลาดได้ และเป็นการจัดการระบบการผลิตและบริโภคที่มีอยู่ในชีวิตประจำวัน เช่น การจัดการเรื่องข้าว หมู เห็ด เป็ด ไก่ ผัก ผลไม้ น้ำยาสระผม สบู่ น้ำยาล้างจาน หรืออื่น ๆ ที่ชุมชนทำได้เองโดยไม่ยุ่งยากนัก การทำกินทำใช้ทดแทนการซื้อเป็นการลดรายจ่ายและยังช่วยให้ระบบเศรษฐกิจใหญ่เข้มแข็งขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นการจัดระบบเศรษฐกิจใหม่ให้เป็นฐานที่เป็นจริงในชุมชน เพราะถ้าชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ กระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงเปรียบเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนเสาเข็มของตึกที่ทำให้ตึกมั่นคงแข็งแรงเศรษฐกิจของประเทศก็จะเข้มแข็งและอยู่ได้ ที่ผ่านมาระบบเศรษฐกิจในประเทศเปรียบเหมือนการสร้างตึกที่มีฐานแคบ ถ้าฐานไม่แข็งแรง ตึกก็พังลงมา ดังนั้น วิสาหกิจชุมชนจึงมีความสำคัญในการสร้างฐานมั่นคงให้กับประเทศได้ โดยกระตุ้นเศรษฐกิจระดับรากหญ้าให้เข้มแข็งและกระจายโอกาสการประกอบอาชีพให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ และลดภาระค่าใช้จ่ายให้ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น

              “วิสาหกิจชุมชน” จัดเป็นองค์กรภาคประชาชนที่ไม่มีรูปแบบ ไม่ได้เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ การสนับสนุนจึงไม่เป็นระบบและไม่มีเอกภาพ ส่งผลให้มีปัญหาในการดำเนินงานเพราะวิสาหกิจชุมชนบางแห่งไม่เป็นที่ยอมรับของหน่วยงานรัฐหรือภาคเอกชน และบางครั้งมีการสนับสนุนจากภาครัฐแต่ไม่ตรงความต้องการที่แท้จริง พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 จึงได้ถูกประกาศใช้อย่างเป็นทางการและมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2548 เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว

ลักษณะของวิสาหกิจชุมชน
จากความหมายของวิสาหกิจชุมชนข้างต้นนั้น วิสาหกิจชุมชนจึงมีลักษณะที่สำคัญอยู่ 7 อย่างด้วยกัน ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบของวิสาหกิจชุมชน คือ

1. ชุมชนเป็นเจ้าของกิจการเอง แต่อย่างไรก็ดี คนนอกอาจมีส่วนร่วมโดยอาจมีการถือหุ้นได้เพื่อการมีส่วนร่วม ร่วมมือ และให้ความช่วยเหลือ แต่ไม่ใช่หุ้นใหญ่ทำให้มีอำนาจในการตัดสินใจ
2. ผลผลิตมาจากกระบวนการในชุมชน ซึ่งอาจจะนำวัตถุดิบบางส่วนมาจากภายนอกได้แต่เน้นการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้มากที่สุด
3. ริเริ่มสร้างสรรค์เป็นนวัตกรรมของชุมชน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของชุมชนซึ่งมีความรู้ภูมิปัญญา หากมีกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมเกิดมีความเชื่อมั่นในตัวเองก็จะริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้โดยไม่เอาแต่เลียนแบบหรือแสวงหาสูตรสำเร็จ
4. มีฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นผสมผสานกับภูมิปัญญาสากล ฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐานทุนที่สำคัญ เป็นการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยปรับประยุกต์ให้ทันสมัย ผสมผสานกับความรู้ภูมิปัญญาสากลหรือจากที่อื่น
5. มีการดำเนินการแบบบูรณาการเชื่อมโยงกิจกรรมต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ไม่ใช่ทำแบบโครงการเดี่ยว คล้ายกับปลูกพืชเดี่ยว แต่เป็นการทำแบบวนเกษตร คือ มีหลาย ๆ กิจกรรมประสานผนึกพลัง (synergy) และเกื้อกูลกัน (cluster)
6. มีกระบวนการเรียนรู้เป็นหัวใจหลัก การเรียนรู้คือหัวใจของกระบวนการพัฒนา วิสาหกิจชุมชน หากไม่มีการเรียนรู้ก็จะมีแต่การเลียนแบบ การหาสูตรสำเร็จโดยไม่มีความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ หากไม่มีการเรียนรู้ก็จะไม่มีวิสาหกิจชุมชนบนฐานความรู้ แต่บนฐานความรู้สึก ความอยาก ความต้องการตามที่สื่อในสังคมกระตุ้นให้เกิด ทำให้ความอยากกลายเป็นความจำเป็นสำหรับชีวิตไปหมด
7. มีการพึ่งตนเองเป็นเป้าหมาย การพึ่งตนเองคือเป้าหมายอันดับแรกและสำคัญที่สุดของวิสาหกิจชุมชน ถ้าหากพลาดเป้าหมายนี้คือพลาดเป้า วิสาหกิจชุมชนจะกลายเป็นธุรกิจที่มีเป้าหมายที่กำไรก่อนที่จะคิดทำให้รอด ไม่พัฒนาเป็นขั้นเป็นตอนให้เกิดความมั่นคงก่อนที่จะก้าวไปพัฒนาธุรกิจ

     ทั้งนี้วิสาหกิจชุมชนคือ เครือข่ายทางชุมชนที่ทำให้ชุมชนได้รวมตัวกันทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและตำบลที่เราอยู่

**ที่มา : http://ophbgo.blogspot.com/
.............................................................................................................................................................